Category Archives: จังหวัดนครนายก

จังหวัดนครนายก

จังหวัดนครนายก is focus keyphase of the content’s title in post to present at 1st rank on Google search by enter focus keyphrase or synonyms.

จังหวัดนครนายก เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางหรือภาคตะวันออกของประเทศไทย

การเมืองการปกครอง
หน่วยการปกครอง
การปกครองส่วนภูมิภาค

แผนที่อำเภอในจังหวัดนครนายก
การปกครองส่วนภูมิภาคของจังหวัดนครนายกแบ่งออกเป็น 4 อำเภอ 41 ตำบล 403 หมู่บ้าน

ข้อมูลอำเภอต่าง ๆ ในจังหวัดนครนายก

ชั้น หมายเลข อำเภอ ประชากร
(พ.ศ. 2561) พื้นที่
(ตร.กม.) ความหนาแน่น
(คน/ตร.กม.) รหัสไปรษณีย์ ระยะทางจาก
อำเภอเมืองนครนายก
1 1 อำเภอเมืองนครนายก 102,096 728.1 140.22 26000, 26001 –
3 2 อำเภอปากพลี 24,507 519.1 47.21 26130 10
2 3 อำเภอบ้านนา 69,107 388.4 177.92 26110 17
3 4 อำเภอองครักษ์ 64,383 486.4 132.36 26120 31
รวม 260,093 2,122.0 122.56
การปกครองส่วนท้องถิ่น

ภาพตัวเมืองนครนายก
จังหวัดนครนายกมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรวม 46 แห่ง ประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง คือ องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครนายก, เทศบาลเมือง 1 แห่ง คือ เทศบาลเมืองนครนายก, เทศบาลตำบล 5 แห่ง และองค์การบริหารส่วนตำบล 39 แห่ง[5] โดยรายชื่อเทศบาลทั้งหมดในจังหวัดนครนายกมีดังนี้

เทศบาลเมืองนครนายก อำเภอเมืองนครนายก
เทศบาลตำบลท่าช้าง อำเภอเมืองนครนายก
เทศบาลตำบลเกาะหวาย อำเภอปากพ
เทศบาลตำบลบ้านนา อำเภอบ้านนา
เทศบาลตำบลพิกุลออก อำเภอบ้านนา
เทศบาลตำบลองครักษ์ อำเภอองครักษ์

ตราประจำจังหวัดนครนายก
ตราประจำจังหวัด
นครนายก เมืองในฝันที่ใกล้กรุง
ภูเขางาม น้ำตกสวย
รวยธรรมชาติ ปราศจากมลพิษ
ข้อมูลทั่วไป
อักษรไทย นครนายก
อักษรโรมัน Nakhon Nayok
ผู้ว่าราชการ ณัฐพงศ์ ศิริชนะ
(ตั้งแต่ พ.ศ. 2560)
ข้อมูลสถิติ
พื้นที่ 2,122.0 ตร.กม.[1]
(อันดับที่ 67)
ประชากร 260,751 คน[2] (พ.ศ. 2562)
(อันดับที่ 72)
ความหนาแน่น 122.87 คน/ตร.กม.
(อันดับที่ 40)
ISO 3166-2 TH-26
สัญลักษณ์ประจำจังหวัด
ต้นไม้ สุพรรณิการ์
ดอกไม้ สุพรรณิการ์
สัตว์น้ำ ปลาตะเพียนทอง
ศาลากลางจังหวัด
ที่ตั้ง ถนนสุวรรณศร ตำบลท่าช้าง อำเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก 26000
โทรศัพท์ 0 3731 4575
เว็บไซต์ จังหวัดนครนายก
แผนที่
ประเทศมาเลเซีย ประเทศพม่า ประเทศลาว ประเทศเวียดนาม ประเทศกัมพูชา จังหวัดนราธิวาส จังหวัดยะลา จังหวัดปัตตานี จังหวัดสงขลา จังหวัดสตูล จังหวัดตรัง จังหวัดพัทลุง จังหวัดกระบี่ จังหวัดภูเก็ต จังหวัดพังงา จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดระนอง จังหวัดชุมพร จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดเพชรบุรี จังหวัดราชบุรี จังหวัดสมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสาคร กรุงเทพมหานคร จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรี จังหวัดระยอง จังหวัดจันทบุรี จังหวัดตราด จังหวัดสระแก้ว จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดนครนายก จังหวัดปทุมธานี จังหวัดนนทบุรี จังหวัดนครปฐม จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดอ่างทอง จังหวัดสิงห์บุรี จังหวัดสระบุรี จังหวัดลพบุรี จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดอุทัยธานี จังหวัดชัยนาท จังหวัดอำนาจเจริญ จังหวัดยโสธร จังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัดมหาสารคาม จังหวัดขอนแก่น จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดพิจิตร จังหวัดกำแพงเพชร จังหวัดตาก จังหวัดมุกดาหาร จังหวัดกาฬสินธุ์ จังหวัดเลย จังหวัดหนองบัวลำภู จังหวัดหนองคาย จังหวัดอุดรธานี จังหวัดบึงกาฬ จังหวัดสกลนคร จังหวัดนครพนม จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดอุตรดิตถ์ จังหวัดสุโขทัย จังหวัดน่าน จังหวัดพะเยา จังหวัดแพร่ จังหวัดเชียงราย จังหวัดลำปาง จังหวัดลำพูน จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดแม่ฮ่องสอน

แผนที่ประเทศไทย จังหวัดนครนายกเน้นสีแดง

เกี่ยวกับภาพนี้
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2489

ประวัติ[แก้]

สันนิษฐานว่าเคยเป็นเมืองสมัยทวารวดี มีหลักฐานแนวกำแพงเนินดินและสันคูอยู่ที่ตำบลดงละคร แต่นครนายกนั้นปรากฏหลักฐานในสมัยอยุธยาเป็นเมืองหน้าด่านทางทิศตะวันออกในสมัยพระเจ้าอู่ทอง ต่อมาในปี พ.ศ. 2437 รัชกาลที่ 5 ทรงจัดลักษณะการปกครองโดยแบ่งเป็นมณฑล นครนายกได้เข้าไปอยู่ในเขตมณฑลปราจีนบุรีจนเมื่อปี พ.ศ. 2445 ทรงเลิกธรรมเนียมการมีเจ้าครองเมืองและให้มีตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดขึ้นแทน ในช่วง พ.ศ. 2486-2489 นครนายกได้โอนไปรวมกับจังหวัดปราจีนบุรีและสระบุรี หลังจากนั้นจึงแยกเป็นจังหวัดอิสระ

บันทึกจากอดีต[แก้]

จังหวัดนครนายก ระหว่างปี พ.ศ. 2382 – 2387 ปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว และต้นรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีชาวต่างประเทศคือ บาทหลวงปาเลอกัวซ์ และ ดาเวนพอร์ท %E

 

ตำบลทรายมูล หลังคา พียู ลายไม้

ตำบลบางปลากด แผ่นใส สีขาวขุ่น 

ตำบลบางลูกเสือ แผ่นใส สีใสกระจก

ตำบลบางสมบูรณ์ หลังคา แซนวิช พียูโฟม

ตำบลบึงศาล หลังคา พียู โฟม

ตำบลพระอาจารย์ หลังคาโปร่งแสง 

ตำบลศีรษะกระบือ แพนเนล พียู

ตำบลองครักษ์ หลังคา พียู ลายไม้

ตำบลโพธิ์แทน แผ่นใส สีขาวขุ่น 

ตำบลดงละคร แผ่นใส สีใสกระจก

Call Now Button